Thursday, June 9, 2016

การบ้าน 6/2-5

การนำแบบฝึกหัดไปทำ นักเรียนสามารถเข้าไปใน ลิงก์ ภาษาไทย ของอาจารย์ กดเข้าลิงก์ ด้านขวามือที่มีรูปภาพ sites.google.com/a/go.buu.ac.th/thai-6/ และ หาที่ลิงก์ ชื่อ 
ขมรมรักวรรณคดี
แบบฝึกหัด เรื่อง ชมรมคนรักวรรณคดี
คำชี้แจง  ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย  X หน้าคำตอบที่ถูกต้อง
๑.ชาลีและผมแกละเป็นเพื่อนกันอย่างไร
ก. สนามเด็กเล่น                        ข. ในความฝัน
ค. ในคอมพิวเตอร์                    ง. ในศูนย์กิจกรรมหมู่บ้าน
๒. จากข้อที่ ๑ สถานที่ในข้อใดที่ชาลีได้พบผมแกละ
ก. https://www.google.co.th/                                 
ข. https://www.pantip.com/
ค. https://www.sanook.com/                                  
ง. https://www.lokwannakadi.com/
๓. วันที่แสนเศร้าของชาลีคือวันในข้อใด
ก. วันปิดภาคเรียน                                                        
ข. วันที่ไม่ได้อ่านวรรณคดี
ค. วันที่ผมแกละกล่าวคำอำลา                                  
ง. วันที่จบการศึกษาแล้วต้องจากเพื่อนๆ
๔.ผมแกละมีอิทธิพลหรือมีความสำคัญกับชาลี
ในเรื่องใด
ก. ทำให้ชาลีรู้จักกับวรรณคดี                                                     
ข. ทำให้ชาลีหันมาประดิษฐ์ของเล่นเอง
ค. ทำให้ชาลีหันมาเล่นของเล่นโบราณ
ง. ทำให้ชาลีมีเพื่อนเป็นนักอ่านวรรณคดีมากมาย
๕.ความเปลี่ยนแปลงด้านการปฏิบัติตนของชาลีที่แสดงให้
เห็นว่าเขาโตขึ้นคือข้อใด
ก.อ่านหนังสือมากขึ้น                                                 
ข. เล่นเกมคอมพิวเตอร์น้อยลง
ค. เวลาว่างก็เข้าห้องสมุดอ่านวรรณคดี
ง. ทุกข้อรวมกัน
๖.ทุกครั้งที่ชาลีหลับตาลงเขาจะเห็นภาพต่างๆมากๆยกเว้นข้อใด
ก. ภาพของผมแกละขี่ม้าก้านกล้วยวิ่งอยู่ข้างหน้าชาลี
ข. ภาพของมะปรางกำลังวิ่งตามหลังผมแกละและชาลีมาติดๆ
ค. ภาพตัวเองที่ท่องทะยานไปในโลกวรรณคดีอันกว้างใหญ่
ง. ภาพของเด็กชายผมจุกหน้าตาน่ารักกำลัง วิ่งเล่นอยู่รอบรอบกระท่อมกลางป่า
 ๗.ชาลีค้นพบความจริงเกี่ยวกับวรรณคดีไทยหลายอย่าง
ยกเว้นข้อใด
ก. วรรณคดีเป็นหนังสือที่น่าสนใจ                                             
ข. ภาษาในวรรณคดีเป็นภาษาที่ไพเราะ
 ค. การอ่านวรรณคดีทำให้ได้ข้อคิดที่เป็นประโยชน์            
ง. นางในวรรณคดีทุกคนต้องเป็นหญิงที่ดีและสวยงาม
๘.ข้อใดคือสิ่งที่ชาลีต้องการ
 ก. ให้ผมแกละมาหาทุกวัน                                                         
 ข. คอมพิวเตอร์เครื่องใหม่
 ค. ให้เพื่อนๆหันมาสนใจและอ่านวรรณคดีกันให้มากขึ้น  
 ง. ให้ผมแกละมาช่วยเขาและมะปรางทำการบ้านยากๆทุกครั้ง
๙. เมื่อชาลีเห็นปลาที่กำลังฮุบเหยื่อที่มะปรางโปรยให้ แล้วเขานึกไปถึงสิ่งใด
 ก. เด็กชายคนหนึ่งกำลังนั่งตกปลา                                           
ข. อาหารจานโปรดที่ทำจากเนื้อปลา
ค. บทชมปลาในวรรณคดีบางเรื่องที่เขาเคยอ่าน                     
ง. ปลาที่อยู่ตามหนองบึงที่ไม่มีใครหยิบยื่นอาหารให้
๑๐. ข้อใดมิใช่กิจกรรมของชมรมที่ชาลีคิดจะตั้งขึ้นมา
ก. แสดงละคร                                                                                 
ข. แข่งขันอ่านทำนองเสนาะ
 ค. แต่งวรรณคดีส่งเข้าประกวด                                                 
ง. อ่านวรรณคดีต่างๆแล้วนำมาเล่าสู่กันฟัง
ตอบคำถามสั้นๆ
1.   1. จงบอกถึงเหตุผลในการที่ชาลีไม่ได้พบผมแกละเป็นเวลานานเพราะอะไร
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.การตั้งชมรมรักวรรณคดี มีประโยชน์อย่างไร
...............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3โลกในคอมพิวเตอร์ที่ผมแกละอยู่ ต่างจากโลกของชาลีอย่างไร
............................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

No comments:

Post a Comment