การเขียนจดหมาย
การเขียนจดหมายเป็นวิธีการที่นิยมใช้เพื่อสื่อสารแทนการพูด เมื่อผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ห่างไกลกัน
การเขียนจดหมายเป็นวิธีการที่นิยมใช้เพื่อสื่อสารแทนการพูด เมื่อผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ห่างไกลกัน
หรือมีความจำเป็นบางประการ ที่ทำให้ไม่สามารถพูดจากันได้ นอกจากนี้จดหมายยังใช้เป็นสื่อสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลที่ไม่รู้จัก และจดหมายอาจใช้เป็นเอกสารสำคัญ สำหรับอ้างเป็นหลักฐานได้อีกด้วย
จดหมายที่เขียนส่งไปมาระหว่างกันนี้ มีหลายประเภท ดังนี้
จดหมาย คือ การติดต่อสื่อสารที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบเฉพาะที่กำหนดไว้ ใช้เขียนติดต่อกันเมื่อไม่สามารถพูดคุยกันหรือเมื่ออยู่ไกลกัน
จดหมายแบ่งเป็นประเภทได้ดังนี้
1. จดหมายส่วนตัว – จดหมายเขียนติดต่อกันในวงศ์ญาติ เพี่อน ครูอาจารย์
2. จดหมายธุรกิจ – จดหมายเขียนติดต่อกันระหว่างบริษัทห้างร้าน องค์การต่างๆ ในเรื่องการงาน พาณิชยกิจและการเงิน
3. จดหมายกิจธุระ – จดหมายเขียนติดต่อบุคคลอื่น บริษัทห้างร้านต่างๆ เพื่อแจ้งกิจธุระต่างๆ
4. จดหมายราชการ – จดหมายเขียนติดต่อกันในทางราชการ เป็นทางราชการจากส่วนราชการ หนึ่ง ถึงส่วนราชการหนึ่ง ข้อความในหนังสือถือว่าเป็นหลักฐานทางราชการ และมีสภาพผูกมัดถาวรในราชการ
จดหมายกิจธุระ เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อบุคคลอื่น บริษัทห้างร้านต่างๆ เพื่อแจ้งกิจธุระต่างๆ ระหว่างเอกชนกับเอกชน เอกชนกับราชการ เช่น จดหมายขอความช่วยเหลือ จดหมายสมัครงาน จดหมายสอบถามต่างๆ ฯลฯ คำว่า “กิจธุระ” กับ “ธุรกิจ” มีความหมายแตกต่างกันดังนี้
กิจธุระ หมายถึง การงานที่ทำเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิตของคนเรา
ธุรกิจ หมายถึง การทำกิจการที่เกี่ยวกับการค้าขาย การลงทุนการได้กำไรหรือขาดทุน
หลักการเขียนจดหมาย
1. เขียนให้น่าอ่าน น่าประทับใจ ได้แก่ การเขียนข้อความให้ชัดเจน ลายมือสะอาดเรียบร้อย การใช้กระดาษสีสุภาพ สะอาดเรียบร้อย ตลอดจนความเป็นระเบียบเรียบร้อยของจดหมาย
2. ใช้ภาษาชัดเจน กะทัดรัด มีใจความที่สมบูรณื ใช้ภาษาเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ เพื่อเป็นการยกย่องให้เกียรติแก่ผู้รับ ทีปัญหาในเรื่องของการเขียนจดหมายของนักเรียน ที่ครูพบ และคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ที่จะนำมาเสนอให้นักเรียนได้เห็นข้อบกพร่อง ของตนเองและได้แก้ไข เช่น
1. ปัญหาในเรื่องของการเขียนชื่อเรื่อง ..(จดหมายธุรกิจ)
2. ปัญหาเรื่องรูปแบบของจดหมาย ที่พบว่าผิดบ่อย คือ วันที่ ควรตรงกับ คำลงท้าย
3. การเขียนวันที่ ควรไว้ ตรงกลาง และควรเขียนให้อยู่ในรูปแบบ ดังนี้ เช่น 1 มกราคม 2555(วัน /เดือน/ปี)
ส่วนปัญหาอย่างอื่นคือเรื่องของใจความสำคัญ ซึ่งจะไปตรงกับความคิดเห็น ของ นางสาวพิณวดี จีรดิษฐ์
ดัดแปลงจาก cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/003/347/original_tuksa.doc? ได้พบว่าปัญหาของการเขียนหนังสือนั้นมีหลายประการดังนี้
1. ไม่ชัดเจนว่า จะทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
2. ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง ชอบใช้ภาษาพูด
3. ใช้สะกด การันต์ วรรคตอน ไม่ถูกต้อง
4. ย่อความ ไม่เป็น
5. จับประเด็น ไม่ถูก ไม่ชัด
6. ไม่อ้าง หนังสือที่อ้างถึง
7. ตอบ ไม่ตรง ประเด็น (เรื่อง)
8. ใช้สำนวน ไม่ดีพอ
9. ไม่ ละเอียดรอบคอบ
10. ไม่ พยายามปรับปรุง พัฒนาให้ดีขึ้น
การเขียนจดหมายเป็นวิธีการที่นิยมใช้เพื่อสื่อสารแทนการพูด เมื่อผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ห่างไกลกัน
การเขียนจดหมายเป็นวิธีการที่นิยมใช้เพื่อสื่อสารแทนการพูด เมื่อผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ห่างไกลกัน
หรือมีความจำเป็นบางประการ ที่ทำให้ไม่สามารถพูดจากันได้ นอกจากนี้จดหมายยังใช้เป็นสื่อสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลที่ไม่รู้จัก และจดหมายอาจใช้เป็นเอกสารสำคัญ สำหรับอ้างเป็นหลักฐานได้อีกด้วย
จดหมายที่เขียนส่งไปมาระหว่างกันนี้ มีหลายประเภท ดังนี้
จดหมาย คือ การติดต่อสื่อสารที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบเฉพาะที่กำหนดไว้ ใช้เขียนติดต่อกันเมื่อไม่สามารถพูดคุยกันหรือเมื่ออยู่ไกลกัน
จดหมายแบ่งเป็นประเภทได้ดังนี้
1. จดหมายส่วนตัว – จดหมายเขียนติดต่อกันในวงศ์ญาติ เพี่อน ครูอาจารย์
2. จดหมายธุรกิจ – จดหมายเขียนติดต่อกันระหว่างบริษัทห้างร้าน องค์การต่างๆ ในเรื่องการงาน พาณิชยกิจและการเงิน
3. จดหมายกิจธุระ – จดหมายเขียนติดต่อบุคคลอื่น บริษัทห้างร้านต่างๆ เพื่อแจ้งกิจธุระต่างๆ
4. จดหมายราชการ – จดหมายเขียนติดต่อกันในทางราชการ เป็นทางราชการจากส่วนราชการ หนึ่ง ถึงส่วนราชการหนึ่ง ข้อความในหนังสือถือว่าเป็นหลักฐานทางราชการ และมีสภาพผูกมัดถาวรในราชการ
จดหมายกิจธุระ เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อบุคคลอื่น บริษัทห้างร้านต่างๆ เพื่อแจ้งกิจธุระต่างๆ ระหว่างเอกชนกับเอกชน เอกชนกับราชการ เช่น จดหมายขอความช่วยเหลือ จดหมายสมัครงาน จดหมายสอบถามต่างๆ ฯลฯ คำว่า “กิจธุระ” กับ “ธุรกิจ” มีความหมายแตกต่างกันดังนี้
กิจธุระ หมายถึง การงานที่ทำเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิตของคนเรา
ธุรกิจ หมายถึง การทำกิจการที่เกี่ยวกับการค้าขาย การลงทุนการได้กำไรหรือขาดทุน
หลักการเขียนจดหมาย
1. เขียนให้น่าอ่าน น่าประทับใจ ได้แก่ การเขียนข้อความให้ชัดเจน ลายมือสะอาดเรียบร้อย การใช้กระดาษสีสุภาพ สะอาดเรียบร้อย ตลอดจนความเป็นระเบียบเรียบร้อยของจดหมาย
2. ใช้ภาษาชัดเจน กะทัดรัด มีใจความที่สมบูรณื ใช้ภาษาเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ เพื่อเป็นการยกย่องให้เกียรติแก่ผู้รับ ทีปัญหาในเรื่องของการเขียนจดหมายของนักเรียน ที่ครูพบ และคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ที่จะนำมาเสนอให้นักเรียนได้เห็นข้อบกพร่อง ของตนเองและได้แก้ไข เช่น
1. ปัญหาในเรื่องของการเขียนชื่อเรื่อง ..(จดหมายธุรกิจ)
2. ปัญหาเรื่องรูปแบบของจดหมาย ที่พบว่าผิดบ่อย คือ วันที่ ควรตรงกับ คำลงท้าย
3. การเขียนวันที่ ควรไว้ ตรงกลาง และควรเขียนให้อยู่ในรูปแบบ ดังนี้ เช่น 1 มกราคม 2555(วัน /เดือน/ปี)
ส่วนปัญหาอย่างอื่นคือเรื่องของใจความสำคัญ ซึ่งจะไปตรงกับความคิดเห็น ของ นางสาวพิณวดี จีรดิษฐ์
ดัดแปลงจาก cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/003/347/original_tuksa.doc? ได้พบว่าปัญหาของการเขียนหนังสือนั้นมีหลายประการดังนี้
1. ไม่ชัดเจนว่า จะทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
2. ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง ชอบใช้ภาษาพูด
3. ใช้สะกด การันต์ วรรคตอน ไม่ถูกต้อง
4. ย่อความ ไม่เป็น
5. จับประเด็น ไม่ถูก ไม่ชัด
6. ไม่อ้าง หนังสือที่อ้างถึง
7. ตอบ ไม่ตรง ประเด็น (เรื่อง)
8. ใช้สำนวน ไม่ดีพอ
9. ไม่ ละเอียดรอบคอบ
10. ไม่ พยายามปรับปรุง พัฒนาให้ดีขึ้น
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.